TKP HEADLINE

ประเพณีแข่งขัน "ว่าว"

ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ศาสนา และศิลปวัฒนธรรม เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประชาชนที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธ เพื่อสร้างความตระหนักในการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม สร้างความปรองดองสมานฉันท์และความสุขให้แก่ประชาชนในพื้นที่ การแข่งขันว่าวขึ้นสูง ว่าวสวยงาม ว่าวความคิด ประกวดซุ้มหมู่บ้าน และมีการแสดงศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน ณ สนามที่ว่าการอำเภอกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา   อ่านเพิ่มเติม

บึงลาแล

ชื่อสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา (บึงลาแล)
ปรับปรุงและฟื้นฟูบึงลาแล ขนาดความจุ 203.700 ลบ.ม. ก่อสร้างเสร็จเมื่อ 3 มีนาคม 2549 ยล.24.4.002 กรมทรัพยากรน้ำกระทรวงทรัพยากรธรร  มชาติและสิ่งแวดล้อม มอบฝายน้ำล้นแห่งนี้ ให้ประชาชน ตำบลกาบัง  เพื่อเป็นประโยชน์สาธารณะประโยชน์และช่วยกันบำรุงรักษา  อ่านเพิ่มเติม

การแข่งเรือพาย

การเปิดบึงลาแลในครั้งนี้ว่า กิจกรรมแข่งขันเรือพาย 2 ฝีพาย เป็นงานเปิดตัว เปิดบึง เปิดสนุก และเปิดความสุขให้คนกาบัง เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้น เพื่อให้ประชาชนคนกาบังได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม โดยมีการ “เปิดตัว” คือเปิดตัวอำเภอกาบัง ให้คนภายนอกได้รับรู้ถึงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรน้ำ  อ่านเพิ่มเติม

ช่างตัดเย็บผ้าคลุมสตรี

กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนหลักสูตรช่างพื้นฐาน ( วิชาช่างตัดเย็บผ้าคลุมสตรี ) เป็นหลักสูตรที่ผู้เรียนสามารถพัฒนาฝีมือของต้นเองที่มีอยู่ให้ดีขึ้นและเพิ่มอาชีพการมีงานทำกับต้นเอง ครอบครัว สังคมได้ ในการจัดการเรียนรู้หลักสูตรนี้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกรงปินัง จึงเน้นการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจากวิทยากรและการศึกษาดูงาน เพื่อให้เห็นช่องทางการเข้าสู่อาชีพได้    อ่านเพิ่มเติม

ข้าวเกรียบเห็ด

ข้าวเกรียบเห็ด  รายละเอียดผู้ประกอบอาชีพ (ข้อมูลส่วนตัว)
นายวิทยา  ตาพ่วง  ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ ๗๑ หมู่ ๓ ตำบลยะรม อำเภอเบตง จังหวัดยะลา  อ่านเพิ่มเติม

ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนกาแป๊ะกอตอนอก

นายมุสตาฟา  แวอาแซ  เป็นผู้ก่อตั้งศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนกาแป๊ะกอตอนอก โดยเริ่มต้นจากการปลูกพืชสวนครัวบริเวณที่อยู่อาศัย ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงในครัวเรือน เพื่อการใช้จ่ายอย่างประหยัด อีกทั้ง ได้มีโอกาสไปศึกษาดูงานแหล่งเศรษฐกิจพอเพียงในหลาย ๆ แห่ง จึงได้แนวคิดนำมาปรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง พร้อมกับมีหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาสนับสนุนให้พื้นที่บริเวณจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรธรรมชาติ  อ่านเพิ่มเติม

วัดพุทธาธิวาส

วัดพุทธาธิวาส ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ ๑ กันยายน พ.ศ.๒๔๖๐ โดยมีคณะผู้เริ่มดำเนินการ คือ พระพิทักษ์ธานี (เล็ก) นายอำเภอเบตงในสมัยนั้น นายพุ่ม คชฤทธิ์ นายกิมซุ้ย ฟุ้งเสถียรและนายผล สุภาพ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา   อ่านเพิ่มเติม

อาคารพิพิธภัณฑ์


ชมวิวเมืองเบตง พิพิธภัณฑ์นี้ตั้งอยู่บนเนินเขาติดกับสวนสาธารณะสุดสยาม บรรยากาศเลยร่มรื่นกว่าพิพิธภัณฑ์ที่อื่นๆ ที่เคยไปมาเลย ในพิพิธภัณฑ์เมืองเบตงนอกจากจะเข้ามาศึกษาเรียนรู้เรื่องราวเมืองนี้แล้วยังมีระเบียงให้ออกไปยืนชมวิวได้ด้วย ทางเดินขึ้นเป็นบันได ชั้นสูงๆ จะอยู่ในอาคารขึ้นมาได้เฉพาะเวลาเปิดทำการ ถ้าพิพิธภัณฑ์ปิดแล้วจะเดินมาชมวิวได้เฉพาะชั้นแรกแต่ก็สูงพอที่จะได้เห็นเมืองเบตงได้ทั่วถึง  อ่านเพิ่มเติม

เศรษฐกิจพอเพียง


เศรษฐกิจพอเพียง  นางสาว บุญช่วย จิระพร อายุ 63 ปี เป็นคนจังหวัดอุดรย้ายลงมาประกอบอาชีพมาอยู่ภาคใต้รับจ้างไปเรื่อยๆจนมาถึงปัจจุบันรวมเวลา 19ปี ซึ่งนางบุญช่วยก็ปลูกผักข้างๆบ้านโดยอาศัยดินเปล่าปลูกไว้กิน เหลือจากกินก็นำไปขายทำเรื่อยๆมา เป็นรายได้เสริม
อ่านเพิ่มเติม

สะพานฮาลา-บาลา


สะพานฮาลา-บาลา เดิมมีเส้นทางระหว่างภูเขาที่มีความคดเคี้ยว ทำให้การสัญจรเป็นด้วยความล้าช้าและเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ทำให้ทางราชการต้องดำเนินการสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 410 สายยะลา-เบตง
อ่านเพิ่มเติม

ปราชญ์ด้านศาสนา



ปราชญ์ด้านศาสนา นายบือราเฮง  สาแหละ มีความสามารถประยุกต์และปรับใช้หลักธรรมคำสอนทางศาสนา ปรัชญาความเชื่อ และประเพณีที่มีคุณค่าให้เหมาะสมต่อบริบททางเศรษฐกิจ สังคม การถ่ายทอดวรรณกรรม คำสอน
อ่านเพิ่มเติม

ภูมิปัญญาด้านอาหาร-ขนมพื้นบ้าน (ขนมจาก)


ภูมิปัญญาด้านอาหาร-ขนมพื้นบ้าน (ขนมจาก) นางคอตีเยาะ เจะนะ 
อ่านเพิ่มเติม

น้ำมันไบโอดีเซล


น้ำมันไบโอดีเซล คุณยศพลพัฒ บุนนาค (พล) ได้เรียนรู้เข้าใจถึงความสำคัญ และวิธีการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลแล้ว อีกทั้งได้แรงบันดาลใจ ในเรื่องน้ำมัน “ไบโอดีเซล” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่พระองค์ได้ทรงชี้นำเป็นแนวทางพระราชดำริ ให้แก่พสกนิกรชาวไทยได้หันไปใช้พลังงานทดแทน ไบโอดีเซล เพื่อช่วยลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ให้แก่พสกนิกรชาวไทย ได้พึ่งพาตนเอง
อ่านเพิ่มเติม

จุดชมวิวเขานางแก้ว

จุดชมวิวเขานางแก้ว "เขานางแก้ว”หรือในภาษามลายูเรียกว่า “บูเกะบูบุห”   แปลว่า “เขาหัวล้าน” แต่ในปัจจุบันถูกเปลี่ยนชื่อเป็น “เขานางแก้ว” เพื่อให้สามารถจดจำได้ง่าย จัดเป็นภูเขาหินสูงกว่าระดับน้ำทะเล 80-90 เมตร
อ่านเพิ่มเติม

วันฮารีรายอ (ตามภาษามาลายูปัตตานี) หรือ วันฮารีรายา (ภาษามาลายูกลาง) เป็นวันรื่นเริงของชาวมุสลิมทั่วโลก ซึ่งใน 1 ปี ชาวมุสลิม มีวันฮารีรายอ 2 ครั้ง คือ อีดิลฟิตรี ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือนเชาวาล ซึ่งเป็นเดือน 10 ตามปฏิทินอิสลาม คือ วันออกบวช และ อีดิลอัฏฮา ตรงกับวันที่ 10 เดือน ซุลฮิจญะ หรือตรงกับเดือน 12 ของปฏิทินอิสลาม
อ่านเพิ่มเติม

น้ำอ้อยสดในเดือนถือศีลอด


น้ำอ้อยสดในเดือนถือศีลอด น้ำอ้อย ถือว่าเป็นเครื่องดื่มที่มุสลิม ใน 3 จังหวัดชายแดนที่นิยมดื่มในเดือนถือศีลอด (รอมฏอน) ผู้ปลูกอ้อยจึงวางแผนให้สามารถเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนรอมฏอน  ทำเป็นอาชีพเสริมมาตลอดในห้วงกว่า 10 ปีที่มา การทำน้ำอ้อยขายช่วงรอมฎอนสร้างรายได้แก่เกษตรกรได้ดี  เพราะปลูกเอง
อ่านเพิ่มเติม

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่บ้านยะรม


ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่บ้านยะรม มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 8 งาน แบ่งเป็น สวนผักเกษตร , สวนครัว  สวนพริกไทย  สวนดาวเรือง โรงเรือนทำน้ำหมักชีวภาพ  โรงเพาะเห็ด  เล้าไก่  บ่อเลี้ยงปลากินพืช  เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นกิจกรรมอย่างหลากหลาย ส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียน น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้และวิถีชีวิต เพื่อเป็นการปลูกฝังแนวทางการดำเนินชีวิตแก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจ บนหลักการความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี บนเงื่อนไขความรู้และคุณธรรม ซึ่งเป็นการสร้างความสุขที่ยั่งยืน  

ข้าวเกรียบเห็ด


ข้าวเกรียบเห็ด นายวิทยา  ตาพ่วง  ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ ๗๑ หมู่ ๓ ตำบลยะรม อำเภอเบตง จังหวัดยะลา  อ่านเพิ่มเติม

หมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 10


หมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 10 เป็นหมู่บ้านหมู่ร่วมพัฒนาชาติไทย ที่มีบรรยากาศเย็นตลอดปี มีต้นไม้ใหญ่ที่สุดในภาคใต้, น้ำตกในบริเวณ ,ที่พักตากอากาศ ,หมอฝังเข็มรักษาโรค ,สมุนไพร,อาหารจีนและติดป่าบาลา-ฮาลา เหมาะแก่การท่องเที่ยวและเข้าค่ายอย่างยิ่ง  อ่านเพิ่มเติม

การเลี้ยงไส้เดือน


การเลี้ยงไส้เดือน  กระบวนการเลี้ยงไส้เดือน เตรียมวัสดุมูลวัว นำไปแช่น้ำหรือผ่านน้ำ 5-7 วัน นำกะละมังหน้ากว้าง 50-60 ซม. ใส่มูลวัวที่ผ่านการแช่น้ำแล้วลงไปครึ่งหนึ่งของกะละมัง นำไส้เดือนพันธุ์ AF ลงใส่ในะละมัง 400-500 กรัม สามารถใส่เศษผัก ผลไม้ ลงในวัสดุเลี้ยงได้ตามความเหมาะสม อ่านเพิ่มเติม

หมอกระดูก



นางแมะเปาะ กะลาพอ หมอกระดูกแห่งอัยเยอร์เวง ลักษณะการรักษา หมอนวดและอ่านดุอาร์เป่าด้วยจะดีที่สุด  และเอาน้ำมันกลับไปทาที่บ้าน  โดยยาสีเหลือง : สรรพคุณ ด้านกระดูกและเส้น   ทุกอาการ น้ำมันที่หมอลงดุอาร์แล้ว หมอบ้านใช้น้ำมันนี้มาตลอดในการรักษาผู้ป่วย  อ่านเพิ่มเติม

นายมุสตาฟา แวอาแซ ภูมิปัญญาเบตง


นายมุสตาฟา  แวอาแซ เป็นผู้ก่อตั้งศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนกาแป๊ะกอตอนอก โดยเริ่มต้นจากการปลูกพืชสวนครัวบริเวณที่อยู่อาศัย ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงในครัวเรือน เพื่อการใช้จ่ายอย่างประหยัด อีกทั้ง ได้มีโอกาสไปศึกษาดูงานแหล่งเศรษฐกิจพอเพียงในหลาย ๆ แห่ง จึงได้แนวคิดนำมาปรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง พร้อมกับมีหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาสนับสนุนให้พื้นที่บริเวณจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรธรรมชาติ อ่านเพิ่มเติม

วัดพุทธาธิวาส



วัดพุทธาธิวาส ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ ๑ กันยายน พ.ศ.๒๔๖๐ โดยมีคณะผู้เริ่มดำเนินการ คือ พระพิทักษ์ธานี (เล็ก) นายอำเภอเบตงในสมัยนั้น นายพุ่ม คชฤทธิ์ นายกิมซุ้ย ฟุ้งเสถียรและนายผล สุภาพ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา  อ่านเพิ่มเติม

อาคารพิพิธภัณฑ์



ชมวิวเมืองเบตง พิพิธภัณฑ์นี้ตั้งอยู่บนเนินเขาติดกับสวนสาธารณะสุดสยาม บรรยากาศเลยร่มรื่นกว่าพิพิธภัณฑ์ที่อื่นๆ ที่เคยไปมาเลย ในพิพิธภัณฑ์เมืองเบตงนอกจากจะเข้ามาศึกษาเรียนรู้เรื่องราวเมืองนี้แล้วยังมีระเบียงให้ออกไปยืนชมวิวได้ด้วย ทางเดินขึ้นเป็นบันได ชั้นสูงๆ จะอยู่ในอาคารขึ้นมาได้เฉพาะเวลาเปิดทำการ ถ้าพิพิธภัณฑ์ปิดแล้วจะเดินมาชมวิวได้เฉพาะชั้นแรกแต่ก็สูงพอที่จะได้เห็นเมืองเบตงได้ทั่วถึง อ่านเพิ่มเติม

ช่างเชื่่อม

การก่อสร้างเป็นการปฏิบัติวิชาชีพแขนงหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยงานไม้ งานคอนกรีต งานปูนก่อฉาบ งานเหล็ก ช่างซึ่งปฏิบัติงานในงานแขนงนั้นๆ ก็จะเรียกตามประเภทของงานนั้นๆ เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ฯลฯ คำที่เรียกโดยรวมก็คือ ช่างก่อสร้าง  อ่านเพิ่มเติม...

กรีดยางพารา

ทุกวันนี้แม้ราคายางพาราจะตกต่ำ แต่ก็ยังถือว่าสูงในอดีตซึ่งเป็นไปตามกลไกตลาดนะครับ แต่วันนี้เราจะมาแนะนำการทำสวนยางพารากันนะครับว่าตั้งแต่การเลือกพันธ์ยางซึ่งก็อ่านได้ในบทความก่อนหน้านี้ วันนี้เราจะมาดูเรื่องการปลูกยางพารา การดูแลยางพารา อ่านเพื่มเติม...

อาซ่องโมเดล

นายอับดุลเราะห์มัน แวมะชัย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา กล่าวถึงการเปิดตัวแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและแหล่งเรียนรู้ชุมชนตำบลอาซ่อง ว่า ตำบลอาซ่อง มีทุนทางวัฒนธรรมและแหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ชุมชนที่น่าสนใจหลากหลาย อ่านเพิ่มเติม...

กระเป๋าผ้า

เป็นผู้หญิงเคยไหมของเยอะรกเต็มกระเป๋า ปกติก็จัดแล้วจัดอีก แต่พอเอาของใส่เข้าไปสุดท้ายก็หาของในกระเป๋าไม่เจอเหมือนเคย =..=" ...เฮ๊ยยย!! กระเป๋านะ ไม่ใช่มหาสมุทรถึงได้งมหาเข็มไม่เจอ =00=" ... เอาหล่ะ นกมีวิธีช่วยบรรเทาปัญหามาให้ค่ะ อ่านเพิ่มเติม...

น้ำตก กา เยาะ มาตี

ชื่อแหล่งท่องเที่ยว :     น้ำตกกาเยาะมาตี
ประเภทสถานที่ท่องเที่ยว : น้ำตก
สถานที่ตั้ง :   ม.1  ต.จะกว๊ะ
หมายเลขติดต่อสอบถาม : 084-4434210
อ่านเพิ่มเติม..

ผลิตภัณฑ์ ฮิญาบ(ผ้าคลุม)ปักมือ

ป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเครื่องแต่งกายของสตรีมุสลิม ที่จำเป็นต้องใช้ในการคลุมศีรษะตามบทบัญญัติของศาสนา มีขนาดกว้างยาวประมาณ 1.5 เมตร อ่านเพิ่มเติม...

แปลงเกษตรผสมผสานตำบลบาลอ

ปัจจุบันการทำเกษตรมีหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการทำเกษตรแบบไร้สารเคมี การทำเกษตรผสมผสาน ตามร้อยพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 แต่หากการทำเกษตรไม่ใช้สารเคมี ผลผลิตที่ได้อาจจะไม่เป็นที่ต้องการของตลาด แต่หากมีความปลอดภัยต่อคนรอบข้าง วันนี้เราจะมานำเสนอความหมายของการทำเกษตรผสมผสาน อ่านเพิ่มเติม...

กศน.ตำบลบาลอ

 อดีต  กศน.ตำบลบาลอ  ได้จัดตั้งอยู่ที่  บ้านบาลอ  หมู่ที่ 1  ตำบลบาลอ  อำเภอรามัน ซึ่งปัจจุบันที่ตั้งของส่วนราชการคือ  เทศบาลตำบลบาลอ  แต่เนื่องจากที่ตั้งเดิมมีความไม่สะดวกหลายเรื่องในการปฏิบัติงาน  อีกทั้งไม่มีห้องที่เป็นสัดส่วนและเป็นเอกเทศ อ่านเพิ่มเติม...

“น้ำนมข้าวกล้อง” ผลิตภัณฑ์ต่อยอดข้าวพันธุ์พื้นเมือง สร้างรายได้ให้ชาวบุดี ยะลา

 จากข้าวหอมมือลอ กลุ่มเกษตรกรปลูกข้าวพื้นเมืองปลอดสารพิษ หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 8 ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ต่อยอดมาเป็นผลิตภัณฑ์น้ำนมแปรรูป โดยการนำของนายซาการียา เดร์ ประธานกลุ่ม นางสาวโรสนี ดอเลาะ เหรัญญิกกลุ่ม นายอารีเพ็ง เลาะเซ็ง ฝ่ายโรงสีข้าว และสมาชิกกลุ่ม กว่า 2 ปี หลังผลิตภัณฑ์น้ำนมแปรรูปจากข้าวพื้นเมืองตำบลบุดี วางตลาด ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากประชาชนหลายกลุ่ม ทั้งวัยทำงาน เด็กๆ รวมทั้งผู้ป่วย ผู้ที่สนใจรับประทานเพื่อสุขภาพ จนปัจจุบันมีออเดอร์สั่งซื้อเข้ามาอย่างต่อเนื่อง อาทิตย์ละไม่ต่ำกว่า 4 โหล สร้างรายได้เสริมให้กับทางกลุ่มเป็นอย่างดี  อ่านเพิ่มเติม

แม่น้ำสายบุรี

 แม่น้ำสายบุรี  เป็นแม่น้ำที่มีความยาว  ๑๘๖  กิโลเมตร ไหลผ่านอำเภอจะแนะ อำเภอศรีสาคร อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส และอำเภอรามัน จังหวัดยะลา ไหลลงสู่ทะเลที่อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี มีพื้นที่ลุ่มน้ำ ๔,๖๐๐ ตารางกิโลเมตร อ่านเพิ่มเติม...

การทำผ้าบาติก ศิลปะบนเนื้อผ้า คุณค่าควรแก่การอนุรักษ์

ผ้าบาติกหรือผ้าปาเต๊ะ เป็นคำที่ใช้เรียกผ้าชนิดหนึ่งที่มีวิธีการทำโดยใช้เทียนปิดส่วนที่ไม่ต้องการให้ติดสีและใช้วิธีการแต้ม ระบาย หรือย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี ผ้าบาติกบางชิ้นอาจจะผ่านขั้นตอนการปิดเทียน แต้มสี ระบายสีและย้อมสีนับเป็นสิบๆ ครั้ง ส่วนผ้าบาติกอย่างง่ายอาจทำโดยการเขียนเทียนหรือพิมพ์เทียนแล้วจึงนำไปย้อมสีที่ต้องการ อ่านเพิ่มเติม

บึงบาโระยามู

ที่บึงบาโร๊ะยามู หมู่ที่ 3 ต.บาลอ อ.รามัน จ.ยะลา นายดลเดช พัฒนรัฐ ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา ได้เป็นประธานในพิธีปล่อยพันธุ์ปลา จำนวน 1,000,000 ตัว ถวายเป็นพระราชกุศล ถวายความจงรักภักดี เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 88 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 5 ธันวาคม 2558 อ่านเพิ่มเติม...

ฝาชีแฟนซี

 ชุมชนบ้านละแอ มีกลุ่มสตรีวัยกลางคน และวัยผู้สูงอายุที่ยังสามารถช่วยเหลือตัวเองได้เป็นจำนวนมาก
หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจงานหลังในครอบครัวก็จะมีเวลาว่าง ไม่ได้มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน และครอบครัว จึงได้คิดรวมกลุ่มกันเพื่อฝึกอาชีพงานฝีมือให้กลุ่มผู้สนใจ เช่น ประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุเหลือใช้ ฝาชีแฟนซี เหรียญโปรยทาน  อ่านเพิ่มเติม...

ทำขนมไทย

ขนมไทย อาชีพไทยๆรายได้ดี “ บ้านขนมสวย “
ปัจจุบันนั้นผู้ประกอบการหลายๆคนคงเลือกที่จะหันมาทำขนมเบเกอรี่ขายกันเพราะมองว่าจะได้รับความนิยมกว่าขนมไทย แต่ความจริงแล้วหากเจาะลึกตลาดขนมไทยจริงๆนั้น ถ้ามีสูตรขนมไทยที่อร่อยละก็จะสามารถสร้างรายได้ได้หลักล้านเลยทีเดียวคะ อ่านเพิ่มเติม...

งานตาดีกาสัมพันธ์

ชมรมตาดีกา ต.บาลอ ร่วมกับเทศบาลตำบลบาลอ จัดงานมหกรรมตาดีกาสัมพันธ์ ครั้งที่ 5 ปี 61 เพื่อดำรงไว้ซึ่งประเพณีและวัฒนธรรม ให้อยู่คู่แผ่นดินนี้ต่อไป อ่านเพิ่มเติม...

ตาดีกาสัมพันธ์

งานตาดีกาสัมพันธ์ตำบลกาลอ  ได้จัดกิจกรรม ตาดีกาสัมพันธ์  กิจรรมตาดีกาสัมพันธ์ บณ ณ  ตำบลกาลอ   อำเภอรามัน   จังหวัดยะลา    ตาดีกาสัมพันธ์เป็นส่วนหนึ่งของการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้เยาวชนมีส่วนร่วม อ่านเพิ่มเติม...

กศน.ตำบลโกตาบารู

    จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นการสนองนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง  ซึ่งมีวิสัยทัศน์ที่ว่า “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ”  โดยให้ความสำคัญกับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเท่าเทียมกับการศึกษาในระบบเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้   อ่านเพิ่มเติม

กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีโกตาบารู

  จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกช่วงวัย “กศน.ช่วยประชาชน” เช่น จัดการเรียนวิชาชีพระยะสั้น (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพประชาชน) ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน บริบทของพื้นที่ จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ และการพัฒนาทักษะชีวิต ในการเตรียมความพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการเข้าสู่สังคมเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Thailand ๔.๐)  อ่านเพิ่มเติม

เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที6 ตำบลกาตอง อำเภอยะหา

กศน.ตำบลกาตางได้ส่งเสริอมกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงโดยในพื้นีที หมู่ที6 ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา  อ่านเพิ่มเติม

ศาลาดูดวงจันทร์

พื้นที่ของอำเภอยะหาแยกมาจากอำเภอเมืองยะลาในปี พ.ศ. 2481 สมัยหลวงรัชกาลประดิษฐ์ (แปะ) เป็นเจ้าเมืองยะลาและหมื่นเสนานุรักษ์ (ประดิษฐ์ ศุภอักษร) ปลัดเมืองยะลาในขณะนั้นได้สำรวจพื้นที่และคัดเลือกตำบลยะหาเป็นที่ตั้งที่ว่าการอำเภอยะหา เบื้องต้นแบ่งออกเป็น 11 ตำบล  อ่านเพิ่มเติม

ขนมไทย

ทาง กศน.ตำบลกาตองได้จัดกิจกรรมโครงการสอนอาชีพระยะสั่น อาหารขนมไทย ณ พื้นที่หมู่่ 2 ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา โดยมีประชาชนทั้วไป และนักศึกษา กศน.เป็นกลุ่มเป้าหมาย เพื่อส่งเสิรมอาชีพและต่อยอดให้กลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น  อ่านเพิ่มเติม

เศรษฐกิจพอเพียง

นางสาว บุญช่วย จิระพร อายุ 63 ปี เป็นคนจังหวัดอุดรย้ายลงมาประกอบอาชีพมาอยู่ภาคใต้รับจ้างไปเรื่อยๆจนมาถึงปัจจุบันรวมเวลา 19ปี ซึ่งนางบุญช่วยก็ปลูกผักข้างๆบ้านโดยอาศัยดินเปล่าปลูกไว้กิน เหลือจากกินก็นำไปขายทำเรื่อยๆมา เป็นรายได้เสริม จนกระทั่งได้ซื้อที่สร้างบ้าน รอบๆบริเวณบ้านก็ปลูกผักผสมผสาน  อ่านเพิ่มเติม

สะพานฮาลา-บาลา

ถนนสาย 410 ยะลา – เบตง เดิมมีเส้นทางระหว่างภูเขาที่มีความคดเคี้ยว ทำให้การสัญจรเป็นด้วยความล้าช้าและเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ทำให้ทางราชการต้องดำเนินการสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 410 สายยะลา-เบตง  สะพานข้ามอ่างเก็บน้ำบางลาง บ.ฆอแย-บาตา ต.แม่หวาด อ.ธารโต จ.ยะลา ขึ้น  อ่านเพิ่มเติม

โครงการวิถีมุสลิม

กศน.อำเภอธารโตจัดกิจกรรมโครงการวิถีมุสลิม เพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรมอันดีงามในท้องถิ่น ของพี่น้องชาวไทยพุทธและมุสลิมในอำเภอธารโต สร้างความรักความสามัคคี สามารถอยู่ร่วมได้อย่างสันติสุข อ่านเพิ่มเติม

โครงการวิถีพุทธ

กศน.อเภอธารโตจัดกิจกรรมโครงการวิถีพุทธ เพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรมอันดีงามในท้องถิ่น ของพี่น้องชาวไทยพุทธและมุสลิมในอำเภอธารโต สร้างความรักความสามัคคี สามารถอยู่ร่วมได้อย่างสันติสุข อ่านเพิ่มเติม

วัดคอกช้าง

วัดคอกช้าง ตั้งอยู่บ้านคอกช้าง หมู่ที่ 7 ตำาบลแม่หวาด อำาเภอธารโต จังหวัดยะลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดราษฎร์วัดคอกช้าง ชาวบ้านเรียกว่า วัดคอกช้าง สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2523 ในที่ดินของนิคมสร้างตนเองธารโต ตั้งวัดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2535 พระครูนิเทศสุตกิจ เป็นผู้ริเริ่มสร้างวัด ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 10 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2550 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร อ่านเพิ่มเติม

ข้อคิดเห็นจากเครือข่าย TKP

 
Copyright © 2018 ศูนย์ข้อมูลความรู้ประชาชนจังหวัดยะลา. Designed by OddThemes > Developed by mediathailand